FacebookPinterest

horticultural

เอธิลิน

เอธิลินมีคุณสมบัติเป็นก๊าซ
หน้าที่ประเภทของกลุ่มฮอร์โมน
- ควบคุมการเจริญเติบโต
- ระบบการหายใจ
- ควบคุมความแก่ของเซลล์

หน้าที่ที่สำคัญ
- เร่งให้ผลไม้สุกตามธรรมชาติ
- ควบคุมพัฒนาการในด้านการออกดอก การสุกของผลไม้

ตำแหน่งที่พืชสร้างฮอร์โมนอยู่ในรูปของสารเคมี
- สารต้นตอที่ให้กำเนิดเอธิลินได้แก่ methionine เป็นกรดอะมิโน มีเอนไซม์ peroxidase เป็นตัวเร่ง และมี monocucleotide และ ไอออนของโลหะเป็น cofactor

Abscisic acid (ABA)

หน้าที่ประเภทของกลุ่มฮอร์โมน
- ยับยั้งการแบ่งเซลล์
- เกี่ยวข้องกับการทำงานของยีนส์ ยับยั้งการสร้างเอนไซ์ amylase
- ปากใบจะปิดภายในเวลาอันรวดเร็ว

หน้าที่ที่สำคัญ
- เป็นสารยับยั้งการเจริญเติบโต
- ทำให้พืชมีปล้องสั้น มีใบขนาดเล็ก
- ทำให้เกิดการร่วงของใบ
- ทำให้พืชมีขนาดต้นไม่สูงนัก มีผลกับพืชกลางวันยาว

ตำแหน่งที่พืชสร้างฮอร์โมนอยู่ในรูปของสารเคมี
- ในช่วงวันสั้น พืชจะสังเคราะห์ ABA ขึ้นมา

จิบเบอเรลลิน

หน้าที่ประเภทของกลุ่มฮอร์โมน

  • การแบ่งเซลล์ของลำต้นให้ได้ phloem ใหม่

หน้าที่ที่สำคัญ

  • กระตุ้นในการกระตุ้นการเติบโตพืช
  • เป็นสารยับยั้งด้วย

ตำแหน่งที่พืชสร้างฮอร์โมนอยู่ในรูปของสารเคมี

  • กระตุ้นในการกระตุ้นการเติบโตพืช
  • เป็นสารยับยั้งด้วย

เป็นสารกระตุ้น

ออกซิน

ตำแหน่งที่พืชสร้างฮอร์โมนอยู่ในรูปของสารเคมี

  • บริเวณเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด ยอดอ่อน
  • ปลายราก
  • ตาที่กำลังเจริญในใบอ่อน
  • เอ็มบริโอ
  • ผลอ่อน
  • ปมราก

หน้าที่ที่สำคัญ และเป็นสารกระตุ้น

ฮอร์โมนพืช

แม้ว่าพืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นในปริมาณที่เหมาะสม ได้รับสถานะภาพและสิ่งแวดล้อมที่เหมาสมแล้วก็ตาม แต่พืชก็ไม่สามารถเจิรญเติบโตตามปรกติได้ จากการศึกษาพบว่ายังมีสารบางอย่างที่ควบคุมกระบวนการทางสรีรวิทยาของพืชมีผลเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืชให้เป็นไปตามขั้นต่างๆเช่น จากราก ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสารนั้นคือ ฮอร์โมน (plant hormone)

ปุ๋ยเคมี

ปุ๋ยเคมี หรือปุ๋ยอนินทรีย์ เป็นปุ๋ยที่ได้จากธรรมชาติ หรือผลิตขึ้นจากผลพลอยได้จากโรงงานอุตสาหกรรม

1.ปุ๋ยเดี่ยว เช่น หมวด (N) ปุ๋ยยูเรีย แอมโมเนียมซัลเฟต, หมวด (P) ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต ดับเบิลซุปเปอร์, หมวด (K) โพแทสเซียมซัลเฟต
2.ปุ๋ยผสม จะมีปุ๋ยสูตรต่างๆ หาซื้อได้ง่าย เช่น 6-12-4, 5-10-5, 15-15-15

ปุ๋ยอินทรีย์

ปุ๋ยอินทรีย์ คือ สารที่ผลิตจากการหมักวัสดุที่ประกอบไปด้วยสิ่งที่มีชีวิต ได้แก่ พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ ผ่านกระบวนการผลิตทางธรรมชาติ ส่วนใหญ่ใช้ในการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน ทำให้ดินโปร่ง ร่วนซุย ระบายน้ำ และถ่ายเทอากาศได้ดี ปุ๋ยอินทรีย์เป็นธาตุอาหารของพืช ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของสารประกอบอินทรีย์ เช่น ไนโตรเจนอยู่ในสารประกอบจำพวกโปรตีน แต่พืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้ทันที ต้องผ่านกระบวนการย่อยสลายของจุลินทรีย์ในดิน แล้วปลดปล่อยธาตุอาหารในรูปสารประกอบอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์มีหลาบประเภท

ปุ๋ยชีวภาพ

ปุ๋ยชีวภาพ หรือน้ำสกัดชีวภาพ หรือจะเรียกว่าปุ๋ยจุลินทรีย์ก็ได้ เป็นการผลิตอินทรีย์สารจากจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ โดยการสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเพิ่มตัวของจุลินทรีย์ ทั้งในสภาวะที่เป็นการหมักลงดินหรือหมักเป็นน้ำสกัด เราให้อาหารจุลินทรีย์โดยการเพิ่มความหวานของน้ำตาล ความหวานของน้ำตาลยังเป็นสารที่ดูดเอาน้ำเลี้ยงในต้นพืชออกมาและเกิดการหมักขึ้น น้ำเลี้ยงนี้เป็นส่วนสำคัญประกอบไปด้วย เอนไซม์ ฮอร์โมนพืช และวิตามิน หลังจากนั้นจุลินทรีย์ก็จะค่อยๆย่อยของสดให้สลายตัวเป็นสารอินทรีย์ รวมถึงจุลินทรีย์เองก็จะผลิดสารอินทรีย์เพิ่มเข้าไปในสารละลายด้วย

ธาตุแมกนีเซียม

Description

เป็นส่วนประกอบสำคัญของรงควัตถุคลอโรฟิลล์พืชสีเขียวจึงต้องการใช้ธาตุแมกนีเซียมเพื่อสร้างคลอโรฟิลล์สำหรับใช้ในกระบวนการสังเคราะห์อาหารด้วยแสง ธาตุแมกนีเซียมช่วยคงสภาพโครงสร้างของไรโบโซม ให้สามารถทำการผลิตโปรตีนอย่างปกติ ทำหน้าที่เป็นสารกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ ที่ช่วยเคลื่อนย้ายฟอสเฟต

Pages